ปิติ เอี่ยมจำรูญลาภล่าสุด

Power of The Act: แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (แผน PDP) ไม่ใช่กฎหมายแต่เหตุใดบังคับใช้ได้?

จากมุมมองของผู้ใช้ไฟฟ้า ความมั่นคงทางพลังงาน หมายถึงการมีไฟฟ้าใช้อย่างเพียงพอ ไม่หยุดชะงัก ในราคาที่ซื้อหาได้ อย่างไรก็ตาม การผลิต ส่ง และจำหน่ายไฟฟ้านั้นเป็นสิ่งที่ต้องมีการคิดและวางแผนล่วงหน้า…

Power of The Act: สัญญาซื้อขายไฟฟ้าโดยตรง (Direct PPA) ตามมติ กพช. 1/2567

ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ครั้งที่ 1/2567 เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2567 ณ ตึกภักดีบดินทร์ ทำเนียบรัฐบาล กพช. ได้พิจารณาถึงโครงการนำร่อง การซื้อขายไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน…

Power of The Act: กฎหมายกับอัลกอริทึมเพื่อการประหยัดพลังงาน

การมุ่งหน้าสู่ระบบพลังงานแบบมั่นคง ยั่งยืน ยืดหยุ่น และเป็นประชาธิปไตยนั้นมิได้อาศัยแต่เพียงการผลิตและจัดหาพลังงานเท่านั้น หากแต่ยังหมายความรวมไปถึงการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย…

Power of The Act: กฎหมายบรรจุภัณฑ์กับโอกาสทางธุรกิจจากการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการรีไซเคิล (D4R)

องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (Deutsche Gesellschaft fur Internationale Zusammenarbeit หรือ “GIZ”) ได้สนับสนุนโครงการ “Collaborative Actions for the Prevention of…

Power of The Act: ความรับผิดชอบของผู้ผลิตแบตเตอรี่ที่ต้องเป็นมากกว่าการสร้างกำไร

เมื่อการผลิต ใช้งาน และของเสียจากแบตเตอรี่นั้นทำให้เกิดความไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และก่อให้เกิดภาระของประเทศในการจัดการของเสียจากแบตเตอรี่ที่หมดสภาพการใช้งานแล้ว ความรับผิดชอบของผู้ผลิตแบต…

Power of The Act: คุณสมบัติของแบตเตอรี่ที่ยั่งยืนและปลอดภัยตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน

ในยุคที่การใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าถูกมองว่าเป็นทางเลือกที่ก่อผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าการใช้งานยานยนต์มีใช้เครื่องยนต์สันดาปซึ่งมีการใช้เชิ้อเพลิงฟอสซิล อย่างไรก็ตาม ยานยนต์ไฟฟ้ายังสามารถสร้างผลกระทบต่…

Power of The Act: เมื่อค่าทางสิ่งแวดล้อม (Green Claim) เป็นคุณสมบัติอันเป็นสาระสำคัญของสินค้าและบริการ

“สินค้า” ที่เราซื้อนั้นควรจะมีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง หากเราเลือกที่จะซื้อข้าวสารหนึ่งถุงจากร้านสะดวกซื้อ เราคาดหวังว่าข้าวนั้นจะมีคุณสมบัติตามรายละเอียดที่ปรากฏบนฉลากแสดงรายละเอียดและคุณสมบั…

Power of The Act: “สินค้านี้ผลิตโดยพลังงานไฟฟ้าจากทรัพยากรพลังงานหมุนเวียน 100%” ตรวจวัดได้จริงหรือไม่ ?

การผลิตสินค้าหรือการให้บริการต่าง ๆ ซึ่งต้องอาศัยการใช้พลังงานไฟฟ้าในการเดินเครื่องจักรหรือการใช้งานอุปกรณ์ล้วนมีความเกี่ยวข้องกับการปลดปล่อยคาร์บอนจากการใช้พลังงาน หากใช้ไฟฟ้าจากระบบโครงข่ายไฟฟ้า…

Power of The Act: บทบาทของกฎหมายพลังงานในช่วงเปลี่ยนผ่านพลังงาน

ใน EP นี้ ผู้เขียนจะขอเสนอบทสรุปจากงานเปิดตัวหนังสือ “กฎหมายพลังงาน (Energy Law)” และเสวนาทางวิชาการ หัวข้อบรรยาย บทบาทของกฎหมายพลังงานในช่วงเปลี่ยนผ่านพลังงาน ณ ห้องประชุมสุรเกียรติ์…

Power of The Act: สัญญาซื้อขายและส่งมอบไฟฟ้าแบบเสมือน (Virtual Power Purchase Agreement)

ผู้เขียนได้ตั้งคำถามเอาไว้ใน EP ก่อนว่าหากมีการ “ซื้อ” ไฟฟ้าจากผู้ขายไฟฟ้าแต่ผู้ซื้อจะ “ใช้” ไฟฟ้าจากระบบโครงข่ายไฟฟ้าซึ่งอาจมิใช่ไฟฟ้าที่ผู้ขายส่งมอบให้แล้ว…

Power of The Act: การวิเคราะห์ร่างกฎหมายในมิติคอร์รัปชัน

ในปัจจุบันกฎหมายเกี่ยวกับการกำกับดูแลการประกอบกิจการพลังงานไม่ว่าจะเป็นการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติจากทรัพยากรปิโตรเลียม ณ แหล่งกำเนิด หรือการผลิต ส่ง และจำหน่ายไฟฟ้า กำลังถูกประเมินผลสัมฤทธิ์ว่ายังมี…

Power of The Act: การประเมินผลสัมฤทธิ์กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบกิจการพลังงาน : ระบบใบอนุญาต

มาตรา 77 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 บัญญัติให้ รัฐพึงจัดให้มีกฎหมายเพียงเท่าที่จำเป็น และยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายที่หมดความจำเป็นหรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ หรือที่เป็นอุปสรรคต่อการดำร…

Power of The Act: การเกิดขึ้นและผลบังคับทางกฎหมายของสัญญาซื้อขายไฟฟ้าอัจฉริยะ

ผู้เขียนได้ตั้งคำถามไว้ใน Power of the Act EP 25 ว่าสัญญาซื้อขายไฟฟ้าที่เกิดขึ้นและมีการบังคับการตามนิติสัมพันธ์ “ในโลกดิจิทัล” เป็นที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ และระบบกฎหมายไทยสามารถรองรับการป…

Power of The Act:การซื้อขายไฟฟ้าแบบกระจายศูนย์ผ่านระบบบล็อกเชน: สัญญาซื้อขายไฟฟ้าอัจฉริยะ

ในปัจจุบัน ผู้ใช้ไฟฟ้าอาจผลิตและจำหน่ายไฟฟ้าได้จากทรัพยากรพลังงานหมุนเวียน เช่น เจ้าของอาคารสามารถผลิตไฟฟ้าจากแผงโซลาร์เซลล์ที่ติดตั้งบนดาดฟ้าของอาคารหรืออาจเป็นกรณีที่เจ้าของอาคารผลิตไฟฟ้าจากกระจกพลั…

Power of The Act: การรวมกิจการระหว่างผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน: นิยาม รูปแบบ และผลกระทบต่อตลาดพลังงาน

อาศัยอำนาจตามมาตรา 60 แห่งพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ได้ออกระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการรวมกิจการและการถือหุ้นไข…

Power of The Act: ความเป็นธรรมของอัตราค่าบริการในการผลิตไฟฟ้าตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า

ในปัจจุบันไฟฟ้าที่เราใช้นั้นมีส่วนที่ได้จากการผลิตโดยผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าที่ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนทำกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตและฝ่ายจำหน่าย สัญญาซื้อขายไฟฟ้าดังกล่าวเปิดโอกาสให้ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน…

Power of The Act: การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลผู้ใช้บริการสถานีอัดประจุไฟฟ้าอัจฉริยะ

ในตอนท้ายของ Power of The Act EP9 ผู้เขียนได้ให้ข้อสรุปว่า ผู้ให้บริการสถานีอัดประจุไฟฟ้าซึ่งให้บริการอัดประจุไฟฟ้าผ่านระบบการอัดประจุไฟฟ้าอัจฉริยะ (ซึ่งจำเป็นที่จะต้องมีการเก็บรวบรวม ใช้…

Power of The Act: ความท้าทายทางกฎหมายการปรับปั๊มน้ำมันขายไฟฟ้าให้รถ EV

“โอกาสทางธุรกิจ” สำหรับการให้บริการจำหน่ายไฟฟ้าแก่ผู้ใช้งานยานยนต์ไฟฟ้า คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ 13 (จะนำมาใช้ในปี พ.ศ.2566-2570)…

Power of The Act: การผลิตไฮโดรเจนจากน้ำทะเลมีต้นทุนจากหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือไม่ ?

*การผลิตไฮโดรเจนจากน้ำทะเล รศ.ดร.นิสิต ตัณฑวิเชฐ รองศาสตราจารย์ ภาควิชาเคมีเทคนิค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้อธิบายเอาไว้อย่างน่าสนใจว่า “แม้ว่าไฮโดรเจนจะเป็นธาตุที่พบมากที่สุดบนโลก…

Power of The Act : สิทธิของบุคคลที่สามในการขอใช้หรือเชื่อมต่อระบบโครงข่ายไฟฟ้า

ทิศทางของกิจการพลังงานในอนาคต: เมื่อผู้ใช้ไฟฟ้ากลายเป็นผู้ผลิตไฟฟ้าด้วย คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน ระบุว่า Prosumer จะกลายเป็นแนวทางการซื้อขายไฟฟ้าในอนาคต พฤติกรรมผู้ใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันมีการเปลี…
1 2
Back to Top