นางนฤมล ภิญโญสินวัฒน์ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติรับทราบตามที่กระทรวงแรงงานเสนอประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ(ฉบับที่ 9) จำนวน 13 กลุ่มสาขาอาชีพ/กลุ่ม อุตสาหกรรม รวม 64 สาขาอาชีพ
โดยพิจารณาทบทวนอัตราค่าจ้างจากลักษณะการทำงาน การจ่ายค่าจ้างจริงในตลาดแรงงาน ความ สามารถในการจ่ายของนายจ้าง รวมทั้งสถานการณ์และสภาพข้อเท็จจริงในแต่ละสาขาอาชีพ และจัดทำร่างอัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ เสนอคณะกรรมการค่าจ้างชุดที่ 20 แล้ว โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค.63 เป็นต้นไป ดังนี้
ลำดับ – กลุ่มสาขาอาชีพ/กลุ่มอุตสาหกรรม ระดับ 1* (หน่วย : บาท/วัน)
กลุ่มสาขาอาชีพภาคบริการ
1 ผู้ประกอบอาหารไทย 440
2 พนักงานนวดไทย 485
3 นักส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสปาตะวันตก (หัตถบำบัด) 540
4 นักส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสปาตะวันตก (สุคนธบำบัด) 595
5 นักส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสปาตะวันตก (วารีบำบัด) 625
6 นักส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสปาตะวันตก (โภชนบำบัด) 680
กลุ่มสาขาอาชีพช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์
7 ช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร์ 440
8 ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร 440
9 ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม 440
10 ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก 440
11 ช่างอิเล็กทรอนิกส์ (โทรทัศน์) 440
กลุ่มสาขาอาชีพช่างอุตสาหการ
12 ช่างเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ 510
13 ช่างเชื่อมแม็ก 440
14 ช่างเชื่อมทิก 505
15 ช่างเชื่อมท่อพอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูง 510
16 ช่างประกอบท่อ 540
17 ช่างทำแม่พิมพ์ฉีดโลหะ 530
กลุ่มสาขาอาชีพช่างก่อสร้าง
18 ช่างไม้ก่อสร้าง 425
19 ช่างก่ออิฐ 380
20 ช่างฉาบปูน 425
21 ช่างอะลูมิเนียมก่อสร้าง 405
22 ช่างหินขัด 440
23 ช่างฉาบยิบซัม 440
24 ช่างมุมหลังคากระเบื้องคอนกรีต 440
กลุ่มอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
25 พนักงานประกอบอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง 400
26 พนักงานประกอบมอเตอร์สำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้า 410
27 ช่างเทคนิคบำรุงรักษาเครื่องจักรกลสำหรับอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 455
28 ช่างเทคนิคระบบรักษาความปลอดภัย 440
กลุ่มอุตสาหกรรมชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ และกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์
29 ช่างกลึงสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 440
30 ช่างเชื่อมมิก-แม็กสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 440
31 ช่างเทคนิคบำรุงรักษาเครื่องจักรกลสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 440
32 ช่างเทคนิคเครื่องกลึงอัตโนมัติสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 440
33 ช่างเทคนิคพ่นสีตัวถังสำหรับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ 440
34 ช่างเทคนิคพ่นซีลเลอร์ตัวถังสำหรับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ 440
35 พนักงานประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์ยานยนต์ (ขั้นสุดท้าย) 440
36 ช่างเทคนิคเชื่อมสปอตตัวถังสำหรับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ 440
กลุ่มอุตสาหกรรมอัญมณี
37 ช่างเจียระไนพลอย 465
38 ช่างหล่อเครื่องประดับ 465
39 ช่างตกแต่งเครื่องประดับ 465
40 ช่างฝังอัญมณีบนเครื่องประดับ 465
กลุ่มอุตสาหกรรมจักรกลและโลหะการ
41 ช่างเทคนิคเขียนแบบเครื่องกล 510
42 ช่างเชื่อมทิกสำหรับอุตสาหกรรมจักรกลและโลหะการ 550
43 ช่างเทคนิคระบบส่งกำลัง 495
44 ช่างเทคนิคระบบไฮโดรลิก 510
กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเครื่องทำความเย็น
45 ช่างเชื่อมระบบท่อในอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเครื่องทำความเย็น 440
46 ช่างเทคนิคเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ 425
47 ช่างเทคนิคห้องเย็นขนาดเล็ก 425
48 พนักงานประกอบเครื่องปรับอากาศ 410
กลุ่มอุตสาหกรรมแม่พิมพ์
49 ช่างเทคนิคเครื่องกัดอัตโนมัติ 495
50 ช่างเทคนิคเครื่องอีดีเอ็ม 475
51 ช่างเทคนิคเครื่องไวร์คัทอีดีเอ็ม 475
52 ช่างขัดเงาแม่พิมพ์ 420
กลุ่มอุตสาหกรรมเหล็ก
53 พนักงานหลอมเหล็กเตาอาร์คไฟฟ้า 515
54 พนักงานปรุงแต่งน้ำเหล็กในเตาปรุงน้ำเหล็ก (Ladle Furnace) 535
55 พนักงานหล่อเหล็ก 490
56 พนักงานควบคุมการอบเหล็ก 470
กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติก
57 ช่างเทคนิคเครื่องฉีดพลาสติก 405
58 ช่างเทคนิคเครื่องเป่าถุงพลาสติก 405
59 ช่างเทคนิคเครื่องเป่าภาชนะกลวง 405
60 ช่างเทคนิคการซ่อมเครื่องเป่าถุงพลาสติก 440
กลุ่มอุตสาหกรรมรองเท้า
61 พนักงานตัดวางรองเท้า 395
62 พนักงานอัดพื้นรองเท้า 405
63 ช่างเย็บรองเท้า 405
64 พนักงานประกอบรองเท้า (เย็น) 385
ลำดับ – กลุ่มสาขาอาชีพ/กลุ่มอุตสาหกรรม ระดับ 2** (หน่วย : บาท/วัน)
กลุ่มสาขาอาชีพภาคบริการ
1 ผู้ประกอบอาหารไทย 565
2 พนักงานนวดไทย 640
3 นักส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสปาตะวันตก (หัตถบำบัด) 715
4 นักส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสปาตะวันตก (สุคนธบำบัด) 790
5 นักส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสปาตะวันตก (วารีบำบัด) 825
6 นักส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสปาตะวันตก (โภชนบำบัด) 900
กลุ่มสาขาอาชีพช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์
7 ช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร์ 550
8 ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร 550
9 ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม 550
10 ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก 550
11 ช่างอิเล็กทรอนิกส์ (โทรทัศน์) 550
กลุ่มสาขาอาชีพช่างอุตสาหการ
12 ช่างเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ 585
13 ช่างเชื่อมแม็ก 550
14 ช่างเชื่อมทิก 680
15 ช่างเชื่อมท่อพอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูง –
16 ช่างประกอบท่อ –
17 ช่างทำแม่พิมพ์ฉีดโลหะ –
กลุ่มสาขาอาชีพช่างก่อสร้าง
18 ช่างไม้ก่อสร้าง 545
19 ช่างก่ออิฐ 515
20 ช่างฉาบปูน 545
21 ช่างอะลูมิเนียมก่อสร้าง 525
22 ช่างหินขัด –
23 ช่างฉาบยิบซัม –
24 ช่างมุมหลังคากระเบื้องคอนกรีต 565
กลุ่มอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
25 พนักงานประกอบอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง 475
26 พนักงานประกอบมอเตอร์สำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้า 490
27 ช่างเทคนิคบำรุงรักษาเครื่องจักรกลสำหรับอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 540
28 ช่างเทคนิคระบบรักษาความปลอดภัย 530
กลุ่มอุตสาหกรรมชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ และกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์
29 ช่างกลึงสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 530
30 ช่างเชื่อมมิก-แม็กสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 530
31 ช่างเทคนิคบำรุงรักษาเครื่องจักรกลสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 530
32 ช่างเทคนิคเครื่องกลึงอัตโนมัติสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 530
33 ช่างเทคนิคพ่นสีตัวถังสำหรับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ 530
34 ช่างเทคนิคพ่นซีลเลอร์ตัวถังสำหรับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ 530
35 พนักงานประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์ยานยนต์ (ขั้นสุดท้าย) 530
36 ช่างเทคนิคเชื่อมสปอตตัวถังสำหรับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ 530
กลุ่มอุตสาหกรรมอัญมณี
37 ช่างเจียระไนพลอย 605
38 ช่างหล่อเครื่องประดับ 605
39 ช่างตกแต่งเครื่องประดับ 605
40 ช่างฝังอัญมณีบนเครื่องประดับ 605
กลุ่มอุตสาหกรรมจักรกลและโลหะการ
41 ช่างเทคนิคเขียนแบบเครื่องกล 605
42 ช่างเชื่อมทิกสำหรับอุตสาหกรรมจักรกลและโลหะการ 660
43 ช่างเทคนิคระบบส่งกำลัง 595
44 ช่างเทคนิคระบบไฮโดรลิก 605
กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเครื่องทำความเย็น
45 ช่างเชื่อมระบบท่อในอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเครื่องทำความเย็น 535
46 ช่างเทคนิคเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ 520
47 ช่างเทคนิคห้องเย็นขนาดเล็ก 520
48 พนักงานประกอบเครื่องปรับอากาศ 505
กลุ่มอุตสาหกรรมแม่พิมพ์
49 ช่างเทคนิคเครื่องกัดอัตโนมัติ 595
50 ช่างเทคนิคเครื่องอีดีเอ็ม 570
51 ช่างเทคนิคเครื่องไวร์คัทอีดีเอ็ม 570
52 ช่างขัดเงาแม่พิมพ์505
กลุ่มอุตสาหกรรมเหล็ก
53 พนักงานหลอมเหล็กเตาอาร์คไฟฟ้า 620
54 พนักงานปรุงแต่งน้ำเหล็กในเตาปรุงน้ำเหล็ก (Ladle Furnace) 640
55 พนักงานหล่อเหล็ก600
56 พนักงานควบคุมการอบเหล็ก 575
กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติก
57 ช่างเทคนิคเครื่องฉีดพลาสติก 480
58 ช่างเทคนิคเครื่องเป่าถุงพลาสติก 480
59 ช่างเทคนิคเครื่องเป่าภาชนะกลวง 480
60 ช่างเทคนิคการซ่อมเครื่องเป่าถุงพลาสติก 515
กลุ่มอุตสาหกรรมรองเท้า
61 พนักงานตัดวางรองเท้า 435
62 พนักงานอัดพื้นรองเท้า 450
63 ช่างเย็บรองเท้า 450
64 พนักงานประกอบรองเท้า (เย็น) 415
ลำดับ – กลุ่มสาขาอาชีพ/กลุ่มอุตสาหกรรม ระดับ 3*** (หน่วย : บาท/วัน)
กลุ่มสาขาอาชีพภาคบริการ
1 ผู้ประกอบอาหารไทย-
2 พนักงานนวดไทย 795
3 นักส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสปาตะวันตก (หัตถบำบัด) –
4 นักส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสปาตะวันตก (สุคนธบำบัด) –
5 นักส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสปาตะวันตก (วารีบำบัด) –
6 นักส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสปาตะวันตก (โภชนบำบัด) –
กลุ่มสาขาอาชีพช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์
7 ช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร์ 660
8 ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร 660
9 ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม 660
10 ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก 660
11 ช่างอิเล็กทรอนิกส์ (โทรทัศน์) –
กลุ่มสาขาอาชีพช่างอุตสาหการ
12 ช่างเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ 740
13 ช่างเชื่อมแม็ก 660
14 ช่างเชื่อมทิก 855
15 ช่างเชื่อมท่อพอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูง –
16 ช่างประกอบท่อ –
17 ช่างทำแม่พิมพ์ฉีดโลหะ –
กลุ่มสาขาอาชีพช่างก่อสร้าง
18 ช่างไม้ก่อสร้าง 670
19 ช่างก่ออิฐ 645
20 ช่างฉาบปูน 670
21 ช่างอะลูมิเนียมก่อสร้าง 645
22 ช่างหินขัด –
23 ช่างฉาบยิบซัม –
24 ช่างมุมหลังคากระเบื้องคอนกรีต 685
กลุ่มอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
25 พนักงานประกอบอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง –
26 พนักงานประกอบมอเตอร์สำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้า –
27 ช่างเทคนิคบำรุงรักษาเครื่องจักรกลสำหรับอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ –
28 ช่างเทคนิคระบบรักษาความปลอดภัย –
กลุ่มอุตสาหกรรมชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ และกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์
29 ช่างกลึงสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ –
30 ช่างเชื่อมมิก-แม็กสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ –
31 ช่างเทคนิคบำรุงรักษาเครื่องจักรกลสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ –
32 ช่างเทคนิคเครื่องกลึงอัตโนมัติสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ –
33 ช่างเทคนิคพ่นสีตัวถังสำหรับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ –
34 ช่างเทคนิคพ่นซีลเลอร์ตัวถังสำหรับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ –
35 พนักงานประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์ยานยนต์ (ขั้นสุดท้าย) –
36 ช่างเทคนิคเชื่อมสปอตตัวถังสำหรับอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ –
กลุ่มอุตสาหกรรมอัญมณี
37 ช่างเจียระไนพลอย –
38 ช่างหล่อเครื่องประดับ –
39 ช่างตกแต่งเครื่องประดับ –
40 ช่างฝังอัญมณีบนเครื่องประดับ –
กลุ่มอุตสาหกรรมจักรกลและโลหะการ
41 ช่างเทคนิคเขียนแบบเครื่องกล –
42 ช่างเชื่อมทิกสำหรับอุตสาหกรรมจักรกลและโลหะการ –
43 ช่างเทคนิคระบบส่งกำลัง –
44 ช่างเทคนิคระบบไฮโดรลิก –
กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเครื่องทำความเย็น
45 ช่างเชื่อมระบบท่อในอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเครื่องทำความเย็น –
46 ช่างเทคนิคเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ –
47 ช่างเทคนิคห้องเย็นขนาดเล็ก –
48 พนักงานประกอบเครื่องปรับอากาศ –
กลุ่มอุตสาหกรรมแม่พิมพ์
49 ช่างเทคนิคเครื่องกัดอัตโนมัติ –
50 ช่างเทคนิคเครื่องอีดีเอ็ม –
51 ช่างเทคนิคเครื่องไวร์คัทอีดีเอ็ม –
52 ช่างขัดเงาแม่พิมพ์ –
กลุ่มอุตสาหกรรมเหล็ก
53 พนักงานหลอมเหล็กเตาอาร์คไฟฟ้า –
54 พนักงานปรุงแต่งน้ำเหล็กในเตาปรุงน้ำเหล็ก (Ladle Furnace) –
55 พนักงานหล่อเหล็ก –
56 พนักงานควบคุมการอบเหล็ก –
กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติก
57 ช่างเทคนิคเครื่องฉีดพลาสติก –
58 ช่างเทคนิคเครื่องเป่าถุงพลาสติก –
59 ช่างเทคนิคเครื่องเป่าภาชนะกลวง –
60 ช่างเทคนิคการซ่อมเครื่องเป่าถุงพลาสติก –
กลุ่มอุตสาหกรรมรองเท้า
61 พนักงานตัดวางรองเท้า –
62 พนักงานอัดพื้นรองเท้า –
63 ช่างเย็บรองเท้า –
64 พนักงานประกอบรองเท้า (เย็น) –
* มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระดับ 1 : ผู้เข้ารับการทดสอบต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ และมีประสบการณ์การทำงานในสาขาอาชีพที่เกี่ยวข้อง หรือผ่านการฝึกฝีมือแรงงานหรือฝึกอาชีพ หรือเป็นผู้จบการศึกษาในสาขาอาชีพที่เกี่ยวข้อง
** มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระดับ 2 : ผู้เข้ารับการทดสอบต้องมีประสบการณ์การทำงาน หรือประกอบอาชีพในสาขาอาชีพที่เกี่ยวข้องนับตั้งแต่ได้รับหนังสือรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติระดับ 1 (ไม่น้อยกว่า 1-2 ปี) หรือได้คะแนนในการทดสอบฯ ระดับ 1 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
*** มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระดับ 3 : ผู้เข้ารับการทดสอบต้องมีประสบการณ์การทำงาน หรือประกอบอาชีพในสาขาอาชีพที่เกี่ยวข้องนับตั้งแต่ได้รับหนังสือรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติระดับ 2 (ไม่น้อยกว่า 1-2 ปี) หรือได้คะแนนในการทดสอบฯ ระดับ 2 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
โดย สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (07 เม.ย. 63)
Tags: กระทรวงแรงงาน, ครม., ค่าจ้าง, ค่าจ้างรายวัน, ค่าแรง, นฤมล ภิญโญสินวัฒน์, แรงงาน, แรงงานไทย